top of page
ค้นหา

โครงการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจระดับเติบโต

  • รูปภาพนักเขียน: thep biz
    thep biz
  • 6 ก.ย. 2561
  • ยาว 1 นาที

          วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ SME ของไทย เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ สสว. จึงได้มุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนา SME ให้เติบโตอย่างมีศักยภาพและสามารถดำเนินธุรกิจในระดับสากลมากขึ้น เพื่อให้ SME เป็นแรงขับเคลื่อนประเทศไทยก้าวพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลางให้ได้ภายใน 10 ปี และได้กำหนดเป้าหมายในระดับผลกระทบเชิงมหภาคให้ “สัดส่วนมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมของ SME ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ เพิ่มขึ้นเป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2564”           สสว. ได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจระดับเติบโต (SME Strong / Regular Level) ปี 2561 เพื่อพัฒนา SME ในกลุ่มนี้ ให้มีศักยภาพในการแข่งขัน และยกระดับมาตรฐาน เพื่อให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน


      2.1  เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs ไทย ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาด การจัดการนวัตกรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การลดต้นทุน หรือได้รับมาตรฐานต่าง ๆ           2.2  เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการประกอบการให้เข้มแข็งยั่งยืน อันจะนำสู่การสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น           ผู้ประกอบการสัญชาติไทย ที่ลงทะเบียน SME ผู้รับบริการภาครัฐ ทั้งที่เป็นนิติบุคคล บุคคลธรรมดา หรือบุคคลธรรมดา ที่จดทะเบียนกับหน่วยงานของรัฐ ซึ่งยังดำเนินธุรกิจปกติ มาไม่น้อยกว่า 3 ปี และอยู่ในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ GDP ของประเทศ


4.1  รับสมัครผู้ประกอบการร่วมโครงการ            4.2  กิจกรรมอบรม และหรือ Self Assessment                      1) อบรม หรือ Workshop                      2) Self Assesment            4.3  เสริมสร้างสรรถนะผู้ประกอบการเชิงลึก                      1) พัฒนาเชิงลึก หรือ Workshop                      2) Workshop บัญชีเชิงลึก                      3) ต่อยอดเพื่อให้ได้มาตรฐานต่างๆ                      4) คูปองตรวจวิเคราะห์อาหารเครื่องสำอาง                      4) จดทะเบียนนิติบุคคล

http://www.smestrong61.com/index.php?module=registration&func=add

 
 
 

Comments


googlef343f2405ffd2ff6.html

  • Black Facebook Icon
  • Black Twitter Icon
  • Black LinkedIn Icon

Proudly created with wix.com

bottom of page